ผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืน

เศรษฐกิจ

สังคม

สิ่งแวดล้อม

icon หัวข้อ พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การจัดการพลังงาน

หน่วย 2563 2564 2565
GRI 302-1
DJSI 2.3.1
ปริมาณการใช้พลังงาน
MWh
545,363 457,268 784,905
พลังงานจากแหล่งหมุนเวียน
(ไฟฟ้าโซลาร์เซลล์)
MWh
312 294 286
พลังงานจากแหล่งไม่หมุนเวียน
MWh
545,051 456,973 784,619
  • ไฟฟ้า
  • ความเย็น
MWh
467,496
77,105
389,510
67,463
436,733
347,886
GRI 302-3
DJSI 1.3.1
ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน 1
kWh/person
7.51 22.85 16.81
N/A ค่าใช้จ่ายในการใช้พลังงาน
บาท
2,095,776,063 1,644,828,104 2,455,498,400

หมายเหตุ:

ข้อมูลในตารางพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครอบคลุม 6 ท่าอากาศยานภายใต้ความรับผิดชอบของ ทอท. รวมการใช้ไฟฟ้าของผู้ประกอบการ โดยไม่รวมสำนักงานใหญ่ ซึ่งมีมาตรฐานวิธีการเก็บข้อมูล คำนวณ และแปลงหน่วยอ้างอิงตาม GHG Protocol Corporate Accounting and Reporting Standard โดยข้อมูลเก็บรวบรวมจากใบแจ้งค่าไฟฟ้าและน้ำเย็นของท่าอากาศยาน

1  ครอบคลุมทั้งพลังงานไฟฟ้าและความเย็น โดยเป็นการคำนวณการใช้พลังงานต่อหนึ่งผู้โดยสาร

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ตัวชี้วัด หน่วย 2562 2563 2564 2565
GRI 305-1
DJSI 2.2.1
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (ขอบเขต 1) ตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า
3,184.23 3,201.97 2,499.25 2,819.64
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า
1,962.89 2,099.10 1,592.82 1,796.16
ท่าอากาศยานดอนเมือง 548.78 521.80 489.32 561.50
ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 116.22 129.53 91.83 96.10
ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 131.51 104.22 83.36 90.41
ท่าอากาศยานภูเก็ต 298.25 238.04 146.36 156.80
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 126.58 109.28 95.56 118.66
GRI 305-1
DJSI 2.2.2
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ขอบเขต 2)
(Market-based)
ตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า
214,710/81 171,166.09 178,974.37 224,506.94
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า
122,371.48 105,585.75 120,912.12 156,233.88
ท่าอากาศยานดอนเมือง 51,648.58 38,509.33 32,194.99 30,922.09
ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 8,050.74 6,022.45 5,150.86 7,374.90
ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 3,559.14 2,845.62 2,504.54 3,834.56
ท่าอากาศยานภูเก็ต 27,024.32 15,939.62 16,332.74 23,361.40
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 2,912.10 2,208.00 1,879.13 2,780.11
GRI 305-4
ความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ขอบเขต 1+2) กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่าต่อผู้โดยสาร
1.53 3.74 11.20 227.33
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
เทียบเท่า
1.90 6.45 21.63 158.03
ท่าอากาศยานดอนเมือง 1.26 2.48 6.46 31.48
ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 0.72 1.27 2.97 7.47
ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 0.95 1.24 2.14 7.47
ท่าอากาศยานภูเก็ต 1.51 2.98 9.21 23.52
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 1.04 1.53 2.78 2.90
DJSI 2.2.3 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ขอบเขต 3) ต้นคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
-
-
-
-
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตันคาร์บอนไดออกไซด์
-
-
-
-
ท่าอากาศยานดอนเมือง
-
-
-
-
ท่าอากาศยานเชียงใหม่
-
-
-
-
ท่าอากาศยานหาดใหญ่
-
-
-
-
ท่าอากาศยานภูเก็ต
-
-
-
-
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง
-
-
-
-
ประเภทของก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ขอบเขต 3)
การเดินทางของพนักงาน ทอท. ต้นคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
-
-
-
-
เครื่อนบิน
-
-
-
-

หมายเหตุ:

ข้อมูลในตารางเป็นข้อมูลตามปีปฏิทินที่ใช้มาตรฐานวิธีการเก็บข้อมูล คำนวณ และแปลงหน่วยอ้างอิงจาก GHG Protocol Corporate Accounting and Reporting Standard โดยคำนึงถึงก๊าซเรือนกระจกที่เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่านั้น และไม่มี Biogenic CO2 emission ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานของ ทอท. นอกจากนี้ ทอท. ใช้ Emission Factor อ้างอิงจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (มกราคม 2560), U.S. Environmental Protection Agency (EPA) และ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) โดยใช้ Global Warming Potential (GWP) ในกรอบระยะเวลา 100 ปี ซึ่งอ้างอิงจาก IPCC Fourth Assessment Report (AR4 - 100 year)

water

การจัดการน้ำและน้ำเสีย

การใช้พลังงาน หน่วย 2562 2563 2564 2565
GRI 303-3
การใช้น้ำจากแหล่งภายนอก
(Water withdrawal) 2
พันลูกบาศก์เมตร 10,481 8,822 6,218 6,251
น้ำประปา พันลูกบาศก์เมตร 10,133 8,113 5,823 5,918
น้ำผิวดิน
-
343 85 0
น้ำบาดาล 348 366 309 333
การใช้น้ำจากแหล่งภายนอกในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงด้านการขาดแคลนน้ำ (Water stress ares) 3 พันลูกบาศก์เมตร 8,041 6,215 4,510 4,942
น้ำประปา พันลูกบาศก์เมตร 8,041 6,027 4,414 4,818
น้ำผิวดิน - 11 7 0
น้ำบาดาล 189 176 90 124
GRI 303-4 ปริมาณน้ำที่ปล่อยออก (Water discharge) 4
น้ำผิวดิน พันลูกบาศก์เมตร 3,992 2,934 1,463 1,734
ปริมาณน้ำที่ปล่อยออก (Water discharge) 4
น้ำผิวดิน พันลูกบาศก์เมตร 2,775 2,050 980 1,146
GRI 303-5 ปริมาณน้ำที่ใช้ (Water consumption) 5 พันลูกบาศก์เมตร 6,490 5,889 4,755 4,783
ปริมาณน้ำที่ใช้ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงด้านการขาดแคลนน้ำ (Water stress ares) 2 พันลูกบาศก์เมตร 5,267 4,165 3,530 3,796
N/A ปริมาณน้ำผ่านการบำบัดที่นำกลับมาใหม่ 6 พันลูกบาศก์เมตร 496 554 441 406
สัดส่วนการใช้น้ำจากแหล่งภายนอก ร้อยละ 4.50 6.30 7.10 6.50

หมายเหตุ:

ข้อมูลด้านน้ำครอบคลุม 6 ท่าอากาศยานภายใต้ความรับผิดชอบของ ทอท. ไม่รวมสำนักงานใหญ่ ข้อมูลเก็บรวบรวมจากใบแจ้งค่าน้ำของท่าอากาศยาน และมาตรวัดของระบบหมุนเวียนน้ำภายใน

2  การใช้น้ำจากแหล่งภายนอกทั้งหมดของ ทอท.เป็นน้ำจืด (≤1,000 mg/L Total Dissolved Solids)

3  จากการวิเคราะห์ด้วย Aqueduct Water Risk Atlas ของ World Resources Institute (WRI) ทอท.มีพื้นที่ดำเนินงานอยู่ในบริเวณที่มีความเสี่ยงด้านการขาดแคลนน้ำ (Water stress areas) ในระดับ Extremely high จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และ ท่าอากาศยานเชียงใหม่

4  ปริมาณน้ำที่ปล่อยออกที่แสดงเป็นค่าปริมาณน้ำที่เข้าสู่ระบบบำบัดซึ่ง ทอท.พิจารณาให้เทียบเท่ากับน้ำที่ปล่อยออก โดยน้ำหลังผ่านการบำบัดน้ำเสียจะมีคุณภาพน้ำเทียบเท่าหรือดีกว่าน้ำจากแหล่งธรรมชาติที่เข้าสู่ระบบ และเป็นไปตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมและมาตรการป้องกันและแก้ไขลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการการติดตามผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ระบุในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดยมีพารามิเตอร์ที่ตรวจวัดตามข้อกำหนดของ EIA อาทิ ไขมัน ความเป็นกรดด่าง (pH) TKN BOD TDS ตะกอนตกตะกอน ตะกอนแขวนลอย และซัลไฟด์ เป็นต้น โดยในปีงบประมาณ 2563 ไม่พบกรณีการละเมิดข้อกำหนดด้านคุณภาพน้ำที่ปล่อยออกหลังการบำบัดในปีที่รายงาน

5  ปริมาณน้ำที่ใช้ (Water consumption) เท่ากับการใช้น้ำจากแหล่งภายนอก (Water withdrawal) หักลบด้วยปริมาณน้ำที่ปล่อยออก (Water discharge) ทั้งนี้ ทอท. ไม่มีแหล่งกักเก็บน้ำที่มีนัยสำคัญที่สามารถส่งผลกระทบต่อความต้องการใช้น้ำในพื้นที่ข้างเคียง

6  ปริมาณน้ำผ่านการบำบัดที่นำกลับมาใหม่ครอบคลุมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานอื่น ๆ อยู่ระหว่างการติดตั้งระบบและเก็บข้อมูล

เศรษฐกิจหมุนเวียน

GRI การใช้พลังงาน หน่วย 2562 2563 2564 2565
306-3
(2020)
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น กิโลกรัม 35,619,591 26,259,579 17,746,486 18,363,142
ขยะทั่วไป กิโลกรัม 35,454,441 26,116,527 17,491,363 18,254,645
ขยะอันตราย 165,150 143,053 255,123 108,497
306-4
(2020)
ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ 7 กิโลกรัม 2,762,656 1,599,056 770,013 354,086
ขยะทั่วไป กิโลกรัม 2,762,656 1,599,056 770,013 354,086
  • นำกลับมาใช้ใหม่
0 0 0 0
  • รีไซเคิล
2,762,656 1,581,295 754,689 354,086
  • ปุ๋ยหมัก
0 17,760 15,324 0
ขยะอันตราย 0 0 0 0
306-5
(2020)
ปริมาณขยะส่งกำจัด 8 กิโลกรัม 32,856,936 24,660,524 16,976,473 18,009,056
ขยะทั่วไป กิโลกรัม 32,850,028 24,517,471 16,721,350 17,900,559
  • ฝังกลบ
27,650,903 8,492,998 2,115,490 3,129,412
  • เผาทำลาย
5,199,125 133,803 100,450 532,130
  • เผาเพื่อให้พลังงาน
0 13,363,550 14,505,410 14,505,410
  • อื่น ๆ 9
0 2,527,121 2,115,490 9,407,864
ขยะอันตราย 165,150 143,053 255,123 108,497
  • เผาทำลาย
165,150 133,803 248,552 248,552
  • วิธีอื่น ๆ 10
0 9,250 6,571 11,901

หมายเหตุ:

7   การกำจัดขยะทั้งหมดเกิดขึ้นนอกพื้นที่ปฏิบัติงานของ ทอท. (Off-site)

8  กระบวนการในการกำจัดขยะอันตรายของ ทอท. เป็นไปตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมและรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ในขณะที่กระบวนการในการกำจัดขยะทั่วไปเป็นไปตามมาตรการในแต่ละท้องที่ซึ่งดำเนินการโดยเทศบาลหรือบริษัทเอกชนที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย การกำจัดขยะทั้งหมดเกิดขึ้นนอกพื้นที่ปฏิบัติงานของ ทอท. (Off-site)

9  การกำจัดขยะอันตรายด้วยวิธีอื่น ๆ ดำเนินการด้วยองค์กรภายนอกอย่างสอดคล้องตามกฎหมาย

10 การกำจัดขยะอันตรายด้วยวิธีอื่น ๆ ได้แก่ การปรับเสถียรก่อนแล้วฝังกลมด้วยวิธีพิเศษ และการเผาให้พลังงาน